บทความ
ความแตกต่างรักษาแบบ “ผู้ป่วยนอก” กับ "Home Isolation”
ระบบการดูแลรักษาผู้ป่วยโควิด-19 แบบ “ผู้ป่วยนอก” หรือ OPD กับ "การรักษาตัวที่บ้าน Home Isolation” หรือ HI แตกต่างกันอย่างไร
คำแนะนำ “เมื่อต้องถอดหน้ากากอนามัย”
ไปเช็คกันอีกครั้งว่า เราควรถอดหน้ากากเมื่อใด และใครที่ยังต้องใส่ต่อไป?
สุขภาพดี สร้างได้ด้วยพฤติกรรมเล็ก ๆ ธรรมดา ๆ
พฤติกรรมธรรมดาเล็กๆ น้อยๆ ที่เราทำจนติดเป็นนิสัยบางอย่างสามารถสร้างสุขภาพที่ดีได้
สิ่งที่ทำได้-ไม่ได้-ข้อควรระวัง หลังปลดล็อกกัญชา
มาทำความเข้าใจอีกครั้งกับสิ่งที่สามารถทำได้ ทำไม่ได้ และข้อควรระวัง หลังกัญชาถูกปลดล็อกแล้ววันนี้
เช็กความต่างของ "ฝีดาษลิง" กับ "อีสุกอีใส"
เช็กความต่างของ "ฝีดาษลิง" กับ "อีสุกอีใส
มาตรการเตรียมพร้อม “โควิด” เข้าสู่โรคประจำถิ่น
มาร่วมกันสร้างความรู้ความเข้าใจและพฤติกรรมให้ทุกคนสามารถดำเนินชีวิตร่วมกับโควิด 19 อย่างปลอดภัย
ออฟฟิศซินโดรม (OFFICE SYNDROME) โรคใกล้ตัวในวัยทำงาน
ออฟฟิศซินโดรม (OFFICE SYNDROME) โรคใกล้ตัวในวัยทำงาน เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายโดยเฉพาะในกลุ่มของคนที่ทำงานในออฟฟิศ ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดออฟฟิศซินโดรมสูง “Office Syndrome”กลุ่มอาการที่พบบ่อย สาเหตุเกิดจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่ผิดแบบซ้ำๆอยู่
เป็นประจำ เช่น การนั่งที่ผิดวิธีสรีระของร่างกาย
รวมไปถึงพฤติกรรมการเล่นโทรศัพท์มือถือและอยู่
ในอิริยาบถเดิมเป็นเวลานานๆ โดยขาดการ
เคลื่อนไหวของร่างกาย และถูกสะสมมากขึ้นทำให้
เกิดออฟฟิศซินโดรมได้
ออฟฟิศซินโดรมมีอาการอย่างไร?
หรือสังเกตได้ยังไง?
แยกทิ้งชุดตรวจ ATK ให้ถูกวิธี
ชุดตรวจโควิด-19 หรือ Antigen Test Kit (ATK)
ก่อให้เกิดขยะติดเชื้อเพิ่มขึ้น และนำไปสู่ความเสี่ยงในการแพร่กระจายโควดิ-19 ได้
ดังนั้น การทิ้งชุดตรวจ ATK ให้ถูกวิธีและปลอดภัย จึงเป็นสิ่งสำคัญ
ใครบ้างที่เสี่ยงเป็นโรคไต?
โรคไตติดอันดับ 1 ใน 5 โรคยอดฮิตของคนไทย พบได้ทุกเพศ ทุกวัย ไม่เฉพาะแค่ผู้สูงอาย
ทั้งนี้ผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงจะเป็นโรคไต ได้แก่ คนที่ครอบครัวมีประวัติเกี่ยวกับโรคไตหรือโรคเบาหวาน นอกจากนี้ยังมีอีกหลายสาเหตุโรคไต เช่น ภาวะความดันโลหิตสูง, การรับประทานยาแก้ปวดติดต่อกันเป็นเวลานาน, เป็นโรคภูมิแพ้ตนเอง กระทั่งพฤติกรรมการรับประทานอาหารรสชาติจัดจ้าน ซึ่งส่วนใหญ่มักเป็นอาหารแนวฟาสต์ฟู้ด ที่มีส่วนผสมของซอสปรุงรส ผงหมัก และเกลือ